พายุไซโคลน ภัยพิบัติธรรมชาติ ที่ได้คร่าทั้งชีวิต และทรัพย์สินของมนุษย์

พายุไซโคลน

พายุไซโคลน ที่รุนแรงที่สุด จากบันทึกในประวัติศาสตร์

พายุไซโคลน Bhola เมื่อย้อนหลัง กลับไปเมื่อ 49 ปี มีพายุที่ รุนแรงได้พัด ขึ้นฝั่งประเทศ ปากีสถาน ตะวันออก คือ ประเทศบังคลาเทศ ในปัจจุบัน

ขนาดที่ใหญ่ และความรุนแรง ของพายุ ซึ่งตามที่ มีการบันทึก ในประวัติศาสตร์ พายุลูกนี้ไม่ใช่ครั้ง รุนแรงที่สุด พายุไซโคลน คือ รัศมีที่ เป็นวงกว้าง และการทำลาย ล้างทุกสิ่ง เรียกได้ว่า เป็นเหมือนหายนะ ทางธรรมชาติ ที่รุนแรง มากที่สุด เท่าที่เคย บันทึกไว้
ในประวัติศาสตร์ ของในยุคคนั้น เลยทีเดียว

พายุไซโคลน เหตุการณ์ที่เป็นเหมือนฝันร้ายของผู้ประสบภัย

พายุไซโคลน

ย้อนไปใน วันที่ 8 พฤศจิกายนปี 1970 พายุไซโคลน สาเหตุ ได้ก่อตัว ขึ้นอย่างที่ ไม่มีใครรู้มาก่อน ในอ่าวเบงกอล และมันได้ทวี ความรุนแรงขึ้น ซึ่งในช่วง เวลาสมัยนั้น เทคโนโลยี การติดต่อ สื่อสาร ยังไม่ทันสมัย และมีการพัฒนา อย่างเช่นทุกวันนี้

การก่อตัว ของพายุร้าย ลูกนี้ที่ กำลังจะ กลายเป็น เหมือนฝันร้าย ในยุคนั้น และได้คร่าชีวิต ของมวลมนุษย์ ในประวัติศาสตร์ ถือว่าเสียชีวิต เยอะที่สุด เหตุการณ์เกิดขึ้น อย่างรวดเร็ว โดยที่ไม่มีใคร ได้ทันตั้งตัว และไม่ได้รับ การแจ้งข่าว มาก่อนเลย ชาวบ้านที่นั่น จึงยังคงใช้ ชีวิตตามปกติ

แต่ชาวบ้าน ที่อาศัยอยู่ ในหมู่บ้าน พายุไซโคลน เกิดที่ไหน ที่อยู่ ริมฝั่งทะเล ได้สังเกต ถึงความผิดปกติ พวกเขาได้ เห็นพายุ ที่มืดสนิท เมฆครึ้มฟ้า และยังฝนก่อตัว มาแต่ไกล พายุไซโคลน คืออะไร เหมือนลมที่ ได้เริ่มเพิ่ม ความรุนแรง ขึ้นเรื่อยๆ แต่ก็ยังมี ชาวบ้านส่วนหนึ่งที่ ยังคงเข้าใจ ว่าเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้น เป็นแค่เพียง พายุลมฝน ที่เคยเกิด ขึ้นทั่วไป
ซึ่งเป็นเหมือน พายุอีก ลูกหนึ่งในทุกๆ ปี เป็นช่วงเวลา เหมือนมรสุม ทั่วไปที่เกิดขึ้น

แต่ในขณะ ที่ผู้เชี่ยวชาญ เริ่มที่จะ ตั้งข้อสังเกต กับเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้น ของพายุลูกนี้
แต่ยังมี อุปสรรคเรื่อง การส่งต่อ ข้อมูลต่างๆ การเตือนภัย เพราะการสื่อสาร ในสมัยนั้น
ยังไม่ได้ มีความทันสมัย และรวดเร็วเหมือน ทุกวันนี้

เมื่อพายุ ไซโคลน Bhola เริ่มก่อตัว ความรุนแรง พายุไซโคลน ความเร็วลม จนถึงขีดสุดความเร็วลม ของมันนั้น ใกล้ศูนย์กลาง 185 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง

ในวันที่ 12 พฤศจิกายน พายุนั้น ได้เคลื่อนตัว เข้าใกล้ฝั่ง ทางด้านตอนใต้ ของประเทศ
บังคลาเทศ ในปัจจุบัน พายุฝน โหมกระหน่ำ รุนแรงมาก  จนชาวบ้าน ที่อาศัย อยู่แถวนั้น
ยังไม่ทัน ได้ตั้งตัว

แต่เหตุการณ์นี้ ยังไม่รุนแรง และเกิดความเสียหาย เท่าพายุน้ำ Storm Surge พัดเข้าฝั่ง
เพราะมันคือ คลื่นมวลน้ำ ขนาดใหญ่มหึมา ที่พัดเอา ทุกอย่างที่ อยู่บนฝั่ง ลงสู่ทะเล
ซึ่งมันก็ได้ คร่าชีวิต ของชาวบ้าน ที่อยู่บนชายฝั่ง ซึ่งจำนวน ผู้ชีวิตเยอะมาก จนน่าตกใจ

หลังจากที่ พายุลูกนี้ ได้สงบลง มีการคาดการณ์ ถึงจำนวน ของผู้เสีย ชีวิตมากกว่า 300,000 ถึง 500,000 คน อย่างไรก็ตาม ในการนับ จำนวนตัวเลข ของผู้เสียชีวิต และการเก็บข้อมูล ในสมัยนั้น ยังไม่น่า เชื่อถือได้ เท่าไหร่นัก เนื่องจากยัง มีวิธีการ ที่ไม่แม่นยำ

แต่เหตุการณ์ ที่เกิดขึ้น ในครั้งนั้น ถือว่าเป็น พายุที่ ได้สร้างความ เสียหายให้ กับชาวบ้าน และมีผู้ เสียชีวิต มากที่สุด ในประวัติศาสตร์ ที่ได้มีการ จดบันทึก เอาไว้เลยทีเดียว
และยังทำให้ หมู่บ้านที่ อยู่บนชายฝั่ง ได้ถูกกลืน จมหายไป ในทะเล ทั้งหมู่บ้าน

ในประเทศไทย มีโอกาสที่จะเจอกับพายุไซโคลน ที่รุนแรงได้หรือไม่

พายุไซโคลน คือ

สำหรับ พายุไซโคลนในไทย ส่วนมาก ไม่ค่อยได้ พบมากนัก และยังมี ความรุนแรงไม่มาก
กำลังของ พายุอ่อน ลงเสียก่อน ที่จะเข้า มาถึงที่ ประเทศไทย เพราะมีเทือกเขา ที่อยู่ใน ประเทศเวียดนาม และลาวเป็น เสมือนกำแพง คอยกั้นไว้

พายุจึง มีกำลัง ลดน้อยลง เป็นพายุ เขตโซนร้อน หรือพายุ ดีเปรสชั่น จึงได้รับ ความรุนแรง
และความกระทบ กระเทือนจาก พายุหมุน ที่มีกำลัง แรงขนาด พายุไต้ฝุ่น ไม่มากนัก

ซึ่งจำนวน พายุในปีๆ หนึ่ง ที่ก่อตัว อยู่ในเขตโซนร้อน  ที่จะพัด เข้าสู่ประเทศไทย
เฉลี่ยประมาณ 3 ลูก และมีโอกาส ที่จะเข้า สู่ประเทศไทย ได้ตั้งแต่ เดือนพฤษภาคม
จนถึงเดือนธันวาคม

พายุหมุน ในโซนร้อน จะเคลื่อนตัว เข้าสู่บริเวณ ชายฝั่งอ่าวไทย และภาคใต้ ในช่วงเดือน ตุลาคม และพฤศจิกายน ซึ่งในระยะนี้ พายุจะมี กำลังที่ ค่อนข้างแรง จัดว่าอยู่ ในเกณฑ์ พายุโซนร้อน เนื่องจากพายุ พวกนี้ยัง กำลังแรง พร้อมในการ ปะทะขอบฝั่ง และเทือกเขา เมื่อเคลื่อนตัว เข้าสู่อ่าวไทย จึงน่ากลัว และค่อนข้าง เป็นอันตราย อาจจะมี เคลื่อนสูงมากทำให้ซัดเรือเล็ก หรือบ้านเรือน ของชาวบ้าน ที่อยู่ตามชายฝั่ง อีกทั้งยัง ส่งผลให้
เกิดน้ำท่วม โดยฉับพลัน ได้อีกด้วย

เรียบเรียงโดย อลิส