การดูแลหัวใจ วิธีการดูแลอวัยวะชิ้นสำคัญ ให้ปลอดจากความเสี่ยงของการที่เกิดโรค

การดูแลหัวใจ

การดูแลหัวใจ อวัยวะชิ้นที่มีความสำคัญอย่างมากของร่างกาย และอาจถือว่าเป็นอวัยวะชิ้นแรกก่อนการเกิดขึ้นมาของมนุษย์ ที่จะต้องเอาใจใส่เป็นอย่างดี

การดูแลหัวใจ หัวใจคืออวัยวะสำคัญ เป็นอันดับที่หนึ่ง ของร่างกายมนุษย์ เพราะว่ามันมีหน้าที่ ในการสูบฉีดโลหิต ให้เกิดการไหลเวียน ไปหล่อเลี้ยงอวัยวะ ทุกส่วนจนทั่วทั้งร่างกาย 

และอวัยวะชิ้นนี้ ก็จะเกิดขึ้น หลังจากที่มีการ ปฏิสนธิแทบจะในทันที ของเด็กทารกในครรภ์ และจะทำหน้าที่ของมันอยู่อย่างนั้นตลอด 24 ชั่วโมง ตลอดช่วงระยะเวลา ชีวิตของทุกคน โดยที่จะไม่มี การหยุดพักแต่อย่างใด

ซึ่งในยามที่เรานอนหลับ พักผ่อนในเวลากลางคืนถือว่าเป็น การดูแลหัวใจและปอด ซึ่งก็จะเป็นช่วงเวลา สำหรับการหยุดพัก การทำงานของ ทุกอวัยวะในร่างกาย จะมีก็แต่เพียง หัวใจเท่านั้นที่จะ ไม่เคยได้หยุดพัก นั่นก็หมายความว่า มันจึงเป็นอวัยวะ ที่จะต้องทำงานหนัก อยู่ตลอดเวลานั่นเอง 

และด้วยเหตุนี้ เราจึงควรจะต้องศึกษา การดูแลหัวใจ และต้องให้ความสำคัญกับ วิธีดูแลหัวใจตัวเอง และการดูแลเอาใจใส่ อวัยวะชิ้นนี้ ให้มากเป็นพิเศษ เพื่อให้สุขภาพของหัวใจ ตั้งอยู่ในความสมบูรณ์ พร้อมสำหรับการทำงาน ได้อยู่ตลอดเวลา

โดยในยุคปัจจุบันนี้ การใช้ชีวิตประจำวันของคนเรา ก็สามารถที่จะเรียกได้ว่า มีปัจจัยที่สามารถ สร้างความเสี่ยงได้เป็นอย่างมาก เกร็ดความรู้ทั่วไป สำหรับการก่อให้เกิดโรคหัวใจ นึกว่าจะเป็นในเรื่อง ของอาหารการกิน หรือการใช้ชีวิต ในรูปแบบต่างๆ 

ซึ่งก็เชื่อว่ามีหลายคน ที่ไม่รู้ด้วยซ้ำไป ว่าพฤติกรรมที่ได้ กระทำอยู่เป็นประจำ ในแต่ละวันนั้น ล้วนแล้วแต่ไม่ได้เป็น การดูแลหัวใจ แต่กลับเป็นปัจจัยอันสุ่มเสี่ยง ที่จะส่งผลเสีย ต่ออวัยวะอย่างหัวใจ และก่อให้เกิดเป็น โรคหัวใจได้ในที่สุด

การดูแลหัวใจ

โดยในส่วนของโรคหัวใจ ก็มีอยู่อย่างมากมาย หลากหลายประเภท สาระน่ารู้สุขภาพ ซึ่งแต่ละประเภท ผู้ป่วยก็มีความจำเป็น ที่จะต้องใช้เวลาในการ การดูแลหัวใจ และเงินค่ารักษาพยาบาล กันเป็นจำนวนมาก ก็ถือว่าเป็นภาระ อันหนักหนาของผู้ป่วย และครอบครัวนั่นเอง 

และด้วยเหตุนี้ ในการป้องกันที่เป็น การดูแลหัวใจ ไม่ให้เกิดโรคหรือ วิธีดูแลรักษาโรคหัวใจ ก็ย่อมจะเป็น สิ่งที่ดีกว่า การรักษาหลังจากที่ โรคได้เกิดแล้ว โดยเฉพาะในเรื่องของโรคหัวใจ ซึ่งอวัยวะชิ้นนี้ เป็นอวัยวะที่มี เพียงแค่ชิ้นเดียวของร่างกาย และควรที่จะต้องทะนุถนอม เอาไว้ให้ดี 

หัวใจเป็นอวัยวะ ชิ้นสำคัญของร่างกาย จนถึงขนาดที่ได้มี ” วันหัวใจโลก ” ( World Heart Day ) เพื่อเป็นการกระตุ้น และปลูกฝังจิตสำนึก ของผู้คนในเรื่อง ความสำคัญของอวัยวะ ที่เรียกว่าหัวใจนั่นเอง

โดยวันที่ 29 กันยายนของทุกปี ก็จะมีการรณรงค์ในเรื่องของ การรักษาหัวใจ ตอกย้ำกันในเรื่องของ ความสำคัญของ อวัยวะอย่างหัวใจ ส่งเสริมให้ผู้คนได้รู้จักกับ การดูแลหัวใจ และใช้ชีวิตในรูปแบบ ที่ปลอดจากความเสี่ยง ของการเกิดโรคหัวใจนั่นเอง

โดยวิธีการใช้ชีวิต ให้ห่างไกลจาก ความเสี่ยงที่จะ ก่อให้เกิดโรคหัวใจนั้น ก็มีแบ่งแยกออกมา เป็นหลักการกันอยู่ 10 วิธีดูแลหัวใจ ซึ่งเป็นสิ่งที่ ผู้คนทุกเพศทุกวัย สามารถที่จะทำ กันได้เหมือนกัน ซึ่งจะทำให้เกิด การลดความเสี่ยง ได้อย่างเห็นผล 

วิธีการหลีกเลี่ยงความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจที่เป็นสากล และเห็นผลลัพธ์ที่ดี

1. ควรหลีกเลี่ยงการรับประทานไขมันทรานส์

ไขมันทรานส์เป็นอาหาร ที่ถูกผลิตขึ้นมา จากกรรมวิธีของ การเติมไฮโดรเจน ผสมลงไปกับน้ำมันพืช ให้น้ำมันพืชอยู่ในสภาพ กึ่งแข็งตัวกึ่งเหลว เพื่อเป็นการทำให้ น้ำมันพืชมีคุณลักษณะ ที่เหมาะสมกับ การใช้งานในการ ทอดอาหารประเภทต่างๆ 

โดยไขมันประเภทนี้ ส่วนใหญ่แล้วจะถูกใช้ เป็นส่วนผสมในอาหารประเภทคุกกี้ , โดนัท , เวเฟอร์ , พัฟ , พาย , ครีมเทียม และขนมขบเคี้ยวชนิดต่างๆ ซึ่งเป็นอาหารที่ ถูกปรุงขึ้นมาด้วย กรรมวิธีของการทอด

โดยไขมันประเภทนี้ จะมีระดับของ ไขมันเลวที่สูง อีกทั้งยังไป กดระดับของ ไขมันที่ดีให้ต่ำลง ซึ่งมันจะส่งผลเสียเป็นอย่างมาก ต่อหลอดเลือดของหัวใจ โดยถ้าหากรับประทาน เข้าไปเป็นจำนวนมาก อย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน รับรองได้ว่า โรคหัวใจมาเคาะประตู หน้าบ้านอย่างแน่นอน 

ซึ่งจากผลของ การสำรวจทางการแพทย์ ในปัจจุบันนี้ ก็พบว่าได้มี ผู้ป่วยเกี่ยวกับระบบ หลอดเลือดของหัวใจ ที่มีอายุน้อยลงทุกที ก็เนื่องจากการที่ไม่รู้จัก การดูแลหัวใจ และรับประทานอาหาร ที่มีส่วนผสมของ ไขมันประเภทนี้ เป็นปริมาณมากนั่นเอง 

การดูแลหัวใจ

2. อยากได้ออกกำลังกายเพื่อลดน้ำหนักอย่างหักโหม

สำหรับการออกกำลังกายในรูปแบบของ Fat Burn จะเป็นการออกกำลังกาย ที่ทำให้อัตรา การเต้นของหัวใจ มีความเหมาะสมมากที่สุด และก็ยังมี อัตราการเผาผลาญ ไขมันได้เป็นอย่างดี มากกว่าการออกกำลังกาย ในรูปแบบอื่น

โดยร่างกายจะสามารถ ที่จะเผาผลาญ ไขมันส่วนเกิน ได้มากถึงประมาณ 70% ต่ออัตราการเต้นสูงสุด ของหัวใจในแต่ละช่วงวัย ยกตัวอย่างเช่น สำหรับคนที่มีอายุ 20 ปี อัตราการเต้น ของหัวใจที่อยู่ ในสภาวะปกติ ก็ควรที่จะอยู่ที่ 140 ครั้ง ต่อนาทีนั่นเอง

โดยสำหรับในเรื่องของ การดูแลหัวใจ ด้วยการออกกำลังกายที่เหมาะสม ก็จะอยู่ที่ ช่วงเวลาประมาณ 30 นาทีต่อวัน และ 5 วันต่อสัปดาห์ ซึ่งการออกกำลังกายของคุณนั้น จะเป็นการเล่นกีฬา ประเภทใดก็ได้ คุณสามารถที่จะเลือก ได้ตามความเหมาะสม และความชื่นชอบส่วนตัว 

3. จะต้องนอนหลับพักผ่อนตามจำนวนชั่วโมง ที่มีความเหมาะสม 

ทุกคนก็คงจะ ทราบกันดีว่า การนอนหลับนั้นก็คือ การดูแลหัวใจและหลอดเลือด และเป็นการพักผ่อนที่ดีที่สุด โดยถ้าหากว่าคุณ ต้องการที่จะให้หัวใจ มีสุขภาพที่ดี คุณก็ควรที่จะต้อง นอนหลับพักผ่อนอย่างสนิท โดยเป็นเวลาที่ ไม่น้อยกว่า 6 – 8 ชั่วโมงต่อวัน

และที่สำคัญเหนือสิ่งอื่นใด นั้นก็คือการนอนหลับ พักผ่อนของคุณ ก็ควรที่จะต้อง เป็นการนอนแบบ ” หลับลึก “ ( Deep Sleep ) เพราะอาการนอนหลับเช่นนี้ จะทำให้คุณรู้สึก สดใสปลอดโปร่ง เป็นอย่างมากเมื่อตื่น ขึ้นมาจากที่นอน

โดยการหลับลึก ในแต่ละคืนนั้น ก็ควรที่จะมีเวลาประมาณ 30 – 50 นาที เพื่อเป็นการให้หัวใจ และสมองได้รับการพักผ่อนอย่างเต็มที่ นั่นก็คือสภาวะ ที่อุณหภูมิของร่างกาย และอัตราของ ความดันโลหิตลดต่ำลง อัตราการเต้นของหัวใจ จะคงที่อยู่ที่ 40 – 60 ครั้งต่อนาที 

และร่างกายก็จะมี การหลั่งฮอร์โมนที่มีชื่อว่า Growth Hormone “ ซึ่งจะเป็นสาร ที่จะถูกหลั่งออกมา เพื่อทำให้สมอง ได้รู้สึกผ่อนคลาย ไม่มีอาการฝันร้าย หรือว่านอนละเมอ

การดูแลหัวใจ

4. พยายามควบคุมอารมณ์ให้ดี อย่าปล่อยให้เกิดความเครียดโดยเด็ดขาด 

ความเครียดถือเป็น ปัจจัยต้นทางของ การเกิดโรคได้ มากมายหลายประเภท เพราะในเวลาที่เรา รู้สึกมีความเครียดนั้น ร่างกายก็อาจจะมี การหลั่งสารบางชนิด ที่มากจนเกินไป และอาจส่งผลเสีย ต่อระบบอวัยวะต่างๆ ของร่างกายได้ 

โดยเฉพาะในส่วนของ โรคหัวใจนั้น แทบจะเรียกได้ว่า เป็นของที่มา คู่กันกับความเครียด สภาวะทางอารมณ์ที่ดีถือเป็น วิธีการรักษา โรคหัวใจ และก็จะเป็นสิ่งที่ ช่วยป้องกันความเสี่ยง ที่จะเกิดโรคหัวใจได้ โดยทั้งนี้ก็เป็น ผลงานวิจัยทางการแพทย์ ที่มีกันมานานแล้ว 

โดยความเครียดสามารถ ที่จะส่งผลเสียต่อ หัวใจอย่างร้ายแรง ได้อย่างเช่นโรคหัวใจวาย แบบเฉียบพลัน และยังสามารถสร้างอัตรา การเสียชีวิตให้กับ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ได้อีกหลายเท่าตัว 

ซึ่งเราก็สามารถทำการดูแลหัวใจ ได้โดยที่จะพยามหลีกเลี่ยง อาการตึงเครียด ของสภาวะทางอารมณ์ ได้ด้วยการออกไป เดินทางท่องเที่ยวพักผ่อน การฝึกนั่งสมาธิ หรือการหาทำกิจกรรม ร่วมกันกับผู้อื่น ก็จะช่วยบรรเทา อาการตึงเครียด ได้เป็นอย่างดี @UFA-X10

Artist Em