การดูแลสุขภาพ ออฟฟิศซินโดรม โรคที่หนีไม่พ้น แก้ยังไงดี ?

การดูแลสุขภาพ

การดูแลสุขภาพ ออฟฟิศซินโดรม ไม่ได้อยากเป็น แต่ปุบปับรับโชค เป็นไม่หายเลย แก้ยังไงดี? TT

การดูแลสุขภาพ กับโรคที่เรียกได้ ว่าเป็นอันดับหนึ่ง!! สำหรับพนักงานออฟฟิศ หรือพนักงานที่ทำงาน ด้วยการทำกิจวัตรเดิม ๆ ทุกวัน ด้วยระยะเวลานาน ๆ ซ้ำไปซ้ำมา และเป็นโรคที่ เมื่อหลงเข้ามา เหมือนออกไป ไม่ได้อีกเลย. . ถูกปิดตายยังไงอย่างงั้น เป็นตลกร้ายที่ขำไม่ออก ฮ่า ๆ และยิ่งช่วงที่ Work from home กันยิ่งหนักเลย เพราะอยู่แต่ในบ้าน นั่งทำงานกันทั้งวัน การดูแลสุขภาพช่วงโควิด

ออฟฟิศซินโดรม อาการเป็นยังไง ?

เรามาดูอาการ แต่ละข้อแบบชัด ๆ กันไปเลยดีกว่า

ข้อแรกที่ชัดเจนที่สุด คืออาการปวดกล้ามเนื้อ ตามบริเวณต่าง ๆ ในร่างกาย ไม่ว่าจะเป็น คอ บ่า สะบัก ไหล่ หลัง และมันไม่หยุดแค่นั้น เพราะมันแผ่ไป ทั่วบริเวณนั้น ๆ เลย เช่น ถ้าคุณปวดหลัง มันจะไม่ใช่แค่ หลังส่วนบนเท่านั้น แต่มันจะร้าว ตั้งแต่หลังบนถึงหลังล่างเลยทีเดียว จนคุณบอกไม่ถูก ว่าสรุปปวดตรงไหนกันแน่ ? ยิ่งนานไปยิ่งหนัก และสะสมขึ้นเรื่อย ๆ รู้ตัวอีกที นอกจากความรำคาญ และการขัดการทำงาน คุณอาจจะต้องไป ร้องครวญครางกับหมอ เฉพาะทางด้านกระดูกแล้ว

การดูแลสุขภาพ

ข้อที่ 2. อาการที่เส้นประสาทถูกกดทับ ก็อย่างเช่น การที่แขนหรือมือ ของคุณชาแบบไม่มีสาเหตุ หรือแขนของคุณอ่อนแรง ยกหรือถือของไม่ไหว

นอกจากนี้ อาการข้างเคียงอื่น ที่อาจเกิดขึ้นได้เกือบ 100% ก็คือเรื่องของดวงตา หากคุณเป็นคน ที่ทำงานหน้าคอม อยู่เป็นประจำ หรือเป็นโรคเครียด โรคนอนไม่หลับ เพิ่มขึ้นมาด้วย เป็นต้น เพียงออฟฟิศซินโดรม อย่างเดียวก็สามารถ ลามไปยันโรคอื่น ๆ ได้เยอะแยะเลย ไม่ใช่เล่น ๆ TT

ถ้าไม่อยากเป็นโรคนี้ เราจะป้องกันยังไงได้บ้าง ? การดูแลสุขภาพ เพื่อลดความเสี่ยง

อยากจะบอกเลย ว่าพูดง่ายนะ แต่ทำอาจจะยากนิดหนึ่ง ผู้ที่อยากหลีกเลี่ยง อาจจะใช้ความพยายามมากสักหน่อย มันเหมือนกับการที่ คุณชอบกินเมนูอะไร มาตั้งแต่เด็ก ๆ แล้ววันหนึ่งห้ามกิน (เปรียบเทียบได้เห็นภาพไหมคะ 555)

การดูแลไม่ให้เกิด โรคออฟฟิศซินโดรมก็เหมือนกัน เหมือนคุณต้องคอย เตือนสติตัวเอง ไม่ให้นั่งนานเกินไป ไม่ให้ใช้สายตามากไป อะไรแบบนี้ ไม่เสียเวลาดีกว่า ไปดูกันว่า การดูแลสุขภาพเบื้องต้น มีอะไรบ้าง ?

  • ไม่นั่งทำงาน ในท่านั่งเดิมนานกว่า 50 นาที แต่หากต้องนั่ง ทำงานนานจริง ๆ ให้ลุกออกจากเก้าอี้ ไปยืดเส้นยืดสาย พักผ่อนสายตา หาอะไรดื่ม/ กินให้สดชื่นบ้าง สักประมาณ 15 นาที (วนไปแบบนี้ ตลอดช่วงที่ทำงาน)
  • อุปกรณ์ก็สำคัญ ไม่ว่าจะเป็นเก้าอี้ที่คุณนั่ง โต๊ะที่คุณใช้ คีย์บอร์ดหรือเมาส์ หรือแว่นตา ทุกอย่างล้วนส่งผล ต่อสุขภาพการทำงาน ของคุณหมดเลย อย่างเช่นเราเอง นั่งเก้าอี้ผิดรูปแบบ ทำให้เมื่อยมาก คือปวดทั้งหลัง ก้นกบ เอวก็ว่าได้

หรือว่าการนั่งจ้องคอมนาน ๆ โดยลืมพัก รู้ตัวอีกที ก็หลายชั่วโมงแล้ว เป็นสิ่งที่ไม่ควรทำตามเลย เชื่อว่าหลายคนก็เป็น อย่างการนั่งหลังค่อม หรือจ้องคอมใกล้ ๆ โดยไม่รู้ตัว การลืมดื่มน้ำ หรืออั้นปัสสาวะ

  • การเตรียมร่างกาย เป็นสิ่งที่หลายคน ลืมนึกถึงแน่นอน สาระน่ารู้สุขภาพ เช้ามานั่งทำงาน เลิกก็นอน โดยไม่ได้วอร์ม หรือออกกำลัง ในส่วนที่เราใช้งานหนัก การยืดกล้ามเนื้อ จุดที่ใช้งานหนัก ๆ จำเป็นมากนะทุกคน

การดูแลสุขภาพ

สำหรับใครที่เกินเยียวยาไปแล้ว ทำยังไงดี? TT

ปัจจุบันนี้ การรักษาโรคออฟฟิศซินโดรม ถือว่าพัฒนามาไกล แล้วเหมือนกันนะ โดยส่วนมากจะช่วย ในการลดความเจ็บปวด กล้ามเนื้ออักเสบ ความปวดเมื่อยของกล้ามเนื้อ ซึ่งผู้ป่วยก็จะมีหลายระดับ ตั้งแต่เพิ่งเป็น กับคนที่ป่วยเรื้อรังเลย จนรบกวนการทำงาน จนทำงานไม่ได้ เคล็ดลับการดูแลสุขภาพพื้นฐาน 12 ข้อ

การรักษาด้วยคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า Peripheral Magnetic Stimulation (เรียกย่อว่า PMS) เป็นเทคโนโลยีใหม่ ซึ่งมันสามารถ ทะลุเข้าไปได้ถึงเนื้อเยื่อ ยันกระดูกของเราเลย นวดก็ทำไม่ได้นะ 555 และนอกจากนั้น เครื่องนี้ยังไปกระตุ้น ให้การไหลเวียนของเลือด ดีขึ้นด้วยค่ะ ที่สำคัญนั้น ผู้รักษาจะมีอาการ ดีขึ้นทันทีเลย หลังการรักษาค่ะ วิธีการดูแลสุขภาพ 10 ข้อ

การดูแลสุขภาพ

ข้อดีของการรักษา

  • แน่นอนว่าไม่เจ็บปวด คือไปรักษาแบบสบาย ๆ
  • ออกมาแล้วอาการดีขึ้น แบบทันตาเห็น
  • ไม่จำเป็นต้องนอน Admit ที่โรงพยาบาล
  • ใช้เวลาไม่นาน เพียงแค่ประมาณ 15 นาทีเท่านั้น
  • รักษาได้ทั้งผู้ที่ เพิ่งมีอาการ และผู้ที่เรื้อรัง

สิ่งที่ควรระวัง ถึงแม้ว่าเจ้าเครื่องนี้ จะมีความปลอดภัยสูง แต่ก็มีกลุ่มคน ที่ไม่เหมาะกับการรักษานะคะ ซึ่งข้อแรกก็คือ ผู้ที่มีอาการชักมาก่อน ต่อมาผู้ที่มี คลิปหนีบเส้นเลือดในสมอง และข้อสุดท้าย ฝังพวกอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ทั้งหลาย การดูแลสุขภาพ คือ ไม่ว่าจะเป็น เครื่องจับอัตรา การเต้นของหัวใจ เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ เป็นต้นค่ะ

หากสุดท้ายแล้ว เราหนีวงจรนี้ไม่พ้นจริง ๆ ฮ่า ๆ ยังคงเป็นออฟฟิศซินโดรมอยู่ อย่างน้อยเราก็ต้อง พยายามไม่ทำให้อาการหนัก พักผ่อนบ้าง ออกกำลังกายบ้าง หากิจกรรมอื่น ๆ ที่ให้ร่างกายได้รีแลกซ์ จากการทำงานหนักบ้าง เพราะเราต้องอยู่กับ ร่างกายตัวเองไปอีกนานเลย การดูแลสุขภาพให้ห่างไกลโรค สู้ ๆ นะทุกคน เราจะปวดหลังไปด้วยกัน 55555

นอกจากเรื่องราว ของโรคประจำตัว พนักงานออฟฟิศแล้ว ทางเว็บไซต์ก็ยังมี เกร็ดความรู้ทั่วไป ด้านอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็น ความรู้รอบตัว ความรู้รอบโลก การดูแลสุขภาพของวัยรุ่น ให้ได้ติดตามกันด้วย @UFA-X10

เรียบเรียงโดย M.Varin